หน้าแรก – มูลนิธิเพื่อการพัฒนาแรงงานและอาชีพ (มพอ.)

“ฉันต้องได้รับการคุ้มครอง”: ประสบการณ์และมุมมองของแรงงานนอกระบบต่อการประกันสังคมในประเทศไทย
“ฉันต้องได้รับการคุ้มครอง”: ประสบการณ์และมุมมองของแรงงานนอกระบบต่อการประกันสังคมในประเทศไทย
งานที่มีคุณค่าในเศรษฐกิจการดูแลในประเทศไทย
งานที่มีคุณค่าในเศรษฐกิจการดูแลในประเทศไทย

รายงานสรุปการประชุมปรึกษาหารือ: งานที่มีคุณค่าในเศรษฐกิจการดูแลในประเทศไทย

กฏกระทรวงฉบับที่ 15 (พ.ศ.2567) คุ้มครองลูกจ้างทำงานบ้าน
กฏกระทรวงฉบับที่ 15 (พ.ศ.2567) คุ้มครองลูกจ้างทำงานบ้าน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2567) แก้ไขเพิ่มความคุ้มครองลูกจ้างทำงานเกี่ยวกับงานบ้านที่ไม่อยู่ในรูปแบบธุรกิจ คุ้มครองใน 11 เรื่อง ได้แก่ 1.ทำงาน 8 ชั่วโมงต่อวัน 2.เวลาพักไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 3.ลากิจธุระอันจำเป็นได้ปีละ 3 วัน 4.ให้แจ้งการจ้างและแจ้งสิ้นสุดการจ้างเด็ก 5.กรณีลูกจ้างอายุไม่ถึง 18 ปีลาฝึกอบรมปีโดยได้รับค่าจ้าง 6.ห้ามหักค่าจ้าง โอที ค่าทำงานวันหยุด โอทีวันหยุด 7.มีกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ 9.ห้ามลูกจ้างหญิงมีครรภ์ ทำงานเวลา 22.00-06.00 น.ทำงานล่วงเวลาหรือทำงานในวันหยุด 10.ลาคลอดบุตรได้ 98 วัน ได้รับค่าจ้างไม่เกิน 45 วัน 11.ห้ามเลิกจ้างเพราะเหตุมีครรภ์

จดหมายข่าวปีที่ 3 ฉบับที่ 3/2567
จดหมายข่าวปีที่ 3 ฉบับที่ 3/2567
“หลากหลายชีวิตลูกจ้างทำงานบ้าน”
“หลากหลายชีวิตลูกจ้างทำงานบ้าน”

10 ประสบการณ์ผู้หญิง จากเครือข่ายลูกจ้างทำงานบ้านในประเทศไทย

มูลนิธิเพื่อการพัฒนาแรงงานและอาชีพ

เครือข่ายผู้รับงานไปทำที่บ้าน (Homeworkers) เกิดจากการรวมตัวของผู้รับงานไปทำที่บ้านและองค์กรพัฒนาเอกชนในกรุงเทพมหานคร ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่ปี 2535 ภายใต้โครงการส่งเสริมการคุ้มครองทางสังคม (Social protection) ให้กับผู้รับงานไปทำที่บ้าน

มกราคม 2025
จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส. อา.
 12345
6789101112
13141516171819
20212223242526
2728293031  

บทความ

ข่าวสาร I กิจกรรม

จักรยานยนต์รับจ้าง
ความรุนแรง

องค์กรเครือข่ายแรงงานนอกระบบ


HomeNet Thailand Brand

วิสาหกิจเพื่อสังคม ที่มี Homenet Thailand และผู้ทำการผลิตที่บ้าน (Home Based Workers) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานหญิง จาก 25 กลุ่มผู้ผลิตเป็นเจ้าของ ผลิตและจำหน่ายสินค้าที่เป็นงานหัตถกรรมจากภูมิปัญญาท้องถิ่น อาหารแปรรูป และการรับจ้างผลิตสินค้าแบบ Original Equipment Manufacture (OEM) โดยยึดหลัก Fair Trade, Social Solidarity Economy และ environmental friendly.